Adjective คือ คำคุณศัพท์ ทำหน้าที่ขยายคำนาม มีดังนิ้
1. Descriptive Adjective บอกลักษณะคุณภาพของคน สัตว์และสิ่งของเช่น
young, rich, new, god, black, clever, happy
2.Possessive Adjective แสดงความเป็นเจ้าของเช่น my, your, his, her, their, our, its
3.Quantitativt Adjective บอกปริมาณมาก้อยของนามที่นับไม่ได้ เช่น some, half, little, enough
4.Numeral Adjective แสดงจำนวนมากน้อย ของนามที่นับได้หรือแสดงลำดับก่อน- หลังของคำนามเช่น one , two, first, many
5. Demonstrative Adjective คุณศัพท์ที่ชี้เฉพาะคำนาม เช่น this, that, these, those
6. Interrogative Adjective คือคำคุณศัพท์ที่แสดงคำถาม เช่น which, whose, what เป็นต้น จะวางอยู่หน้าประโยคคำถาม ตัวอย่างเช่น
- Which way shall we go ?
- Whose dictionary is this ?
7. Proper Adjective คือคำคุณศัพท์ที่มาจากคำนามที่เป็นชื่อเฉพาะ เช่น ชื่อประเทศ ทำหน้าที่ ขยายคำนามซึ่งมีความหมายว่า “เป็นของ หรือจากประเทศนั้นๆ ตัวอย่างเช่น Which way shall we go?
8. Distributive Adjective แสดงการแบ่งแยกหรือจำแนก เช่น each, every, either, neither
ตำแหน่งของคำคุณศัพท์ ( Positions of Adjective)
1. วางไว้หน้าคำนาม adjective นั้น ทำหน้าที่ขยายตัวอย่าง เช่น
* Peter wears a black suit.
* Tom is a good guy.
2. วางไว้หลัง Verb to be และ Linking Verbs ตัวอย่าง เช่น
* The traffic is terrible at 5 o’clock on Friday.
* He felt tired.
* Peter wears a black suit.
* Tom is a good guy.
2. วางไว้หลัง Verb to be และ Linking Verbs ตัวอย่าง เช่น
* The traffic is terrible at 5 o’clock on Friday.
* He felt tired.
หมายเหตุ
Linking Verb คือคำกริยาที่เชื่อมความสัมพันธ์ระหว่าง subject กับ adjective ที่ตามมา ยกตัวอย่างเช่น taste , smell , turn , keep , feel , appear , grow , get , become , go , look , seem , sound เป็นต้น ตัวอย่างเช่น
* The soup tastes good.
* The rose smells sweet.
* Uncle’s hair turns grey.
Adjective ต่อไปนี้วางไว้หน้าคำนามเท่านั้น (ห้ามวางไว้หลัง Verb to be และ Linking Verbs) เช่น
main (สำคัญ) only (เพียง)
upper (ข้างบน) former (แต่ก่อน)
chief (สำคัญที่สุด) inner (ภายใน)
outer (ภายนอก) principal (หลักสำคัญ)
indoor (ในร่ม) outdoor (กลางแจ้ง)
elder (สูงกว่า) eldest (สูงวัยที่สุด)
drunken (ขี้เมา) wooden (ทำด้วยไม้)
golden (ทำด้วยทอง)
Linking Verb คือคำกริยาที่เชื่อมความสัมพันธ์ระหว่าง subject กับ adjective ที่ตามมา ยกตัวอย่างเช่น taste , smell , turn , keep , feel , appear , grow , get , become , go , look , seem , sound เป็นต้น ตัวอย่างเช่น
* The soup tastes good.
* The rose smells sweet.
* Uncle’s hair turns grey.
Adjective ต่อไปนี้วางไว้หน้าคำนามเท่านั้น (ห้ามวางไว้หลัง Verb to be และ Linking Verbs) เช่น
main (สำคัญ) only (เพียง)
upper (ข้างบน) former (แต่ก่อน)
chief (สำคัญที่สุด) inner (ภายใน)
outer (ภายนอก) principal (หลักสำคัญ)
indoor (ในร่ม) outdoor (กลางแจ้ง)
elder (สูงกว่า) eldest (สูงวัยที่สุด)
drunken (ขี้เมา) wooden (ทำด้วยไม้)
golden (ทำด้วยทอง)
Adverbs
Adverbs (คำกริยาวิเศษณ์) คือ คำที่ใช้ขยายคำกริยา (verb) , ขยายคุณศัพท์ (adjective) และขยายคำกริยาวิเศษณ์ (adverb)
หน้าที่ของ Adverb
1. ขยายคำกริยา (verbs) เช่น
She walks clumsily. (เธอเดินงุ่มงาม)
v. adv.
2. ขยายคำคุณศัพท์ (adjective) เช่น
She is very cute.
adv. adj.
3. ขยายคำกริยาวิเศษณ์ (adverbs) เช่น
That dog runs very quickly.
adv. adv.
That dog runs very quickly.
adv. adv.
ชนิดของ Adverb
1. Adverb of Manner เป็น adverb ที่บอกอาการหรือลักษณะการกระทำ ใช้ตอบคำถามที่ขึ้นต้นด้วย How? เช่น hard = หนัก , fast = อย่างเร็ว , happily
= อย่างมีความสุข เป็นต้น
ตำแหน่งอยู่ในประโยคคือ 1. หลังคำกริยา เช่น I run quickly.
2. หลังกรรมตรง เช่น She looks at me angrily.
* หมายเหตุที่มาของ Adverb of Manner
-- ได้จากการเติม -ly ข้างท้าย adjective ถ้า adjective ลงท้ายด้วย y หน้า y ไม่ใช่ a , e , o , u ให้เปลี่ยน y เป็น i แล้วจึงเติม -ly
-- good เปลี่ยนเป็น well
-- บางคำที่เป็นได้ทั้ง adjective และ adverb เช่น hard , fast , late , early
1. Adverb of Manner เป็น adverb ที่บอกอาการหรือลักษณะการกระทำ ใช้ตอบคำถามที่ขึ้นต้นด้วย How? เช่น hard = หนัก , fast = อย่างเร็ว , happily
= อย่างมีความสุข เป็นต้น
ตำแหน่งอยู่ในประโยคคือ 1. หลังคำกริยา เช่น I run quickly.
2. หลังกรรมตรง เช่น She looks at me angrily.
* หมายเหตุที่มาของ Adverb of Manner
-- ได้จากการเติม -ly ข้างท้าย adjective ถ้า adjective ลงท้ายด้วย y หน้า y ไม่ใช่ a , e , o , u ให้เปลี่ยน y เป็น i แล้วจึงเติม -ly
-- good เปลี่ยนเป็น well
-- บางคำที่เป็นได้ทั้ง adjective และ adverb เช่น hard , fast , late , early
2. Adverb of Degree บอกระดับความเข้ม-hน เช่น very = มาก , quite = ทีเดียว , rather = ค่อนข้าง , almost = เกือบจะ , extremely = อย่างยิ่ง , too =มากไป ตำแหน่งในประโยค 1. ไว้หน้าคำคุณศัพท์ เช่น It's very loud.
2. ไว้หน้า adverb เช่น She sings very sweetly.
3. Adverb of Place บอกสถานที่ เช่น up , down , here , there
ตัวอย่างประโยค -- Jim came here yesterday. , We have to go there. (อยู่หลังคำกริยา)
-- Please bring then inside.
4. Adverb of Frequency ใช้ขยายคำกริยา เพื่อบอกถึงความถี่ของการกระทำ และจะวางไว้หน้าคำกริยานั้นๆด้วย ยกเว้น sometimes อยู่ ต้นประโยคก็ได้
เช่น always สม่ำเสมอ usually เป็นประจำ often บ่อยๆ
sometimes บางครั้งบางคราว seldom นานๆครั้ง never ไม่เคย
Examples: Sandy always goes to school early.
Mary usually cooks dinner.
We often drink milk.
I never go to London.
Sometimes I eat pizza for lunch.
เช่น always สม่ำเสมอ usually เป็นประจำ often บ่อยๆ
sometimes บางครั้งบางคราว seldom นานๆครั้ง never ไม่เคย
Examples: Sandy always goes to school early.
Mary usually cooks dinner.
We often drink milk.
I never go to London.
Sometimes I eat pizza for lunch.
5. Adverb of time บอกเวลา ตอบคำถาม When เช่น Tonight (คืนนี้) , during winter (ระหว่างฤดูหนาว) , early (แต่เช้าตรู) , tomorrow (พรุ่งนี้) , yesterday (เมื่อวานนี้) , soon (ในไม่ช้า)
ตำแหน่งในประโยค -- ไว้ท้ายประโยค I will go to London next week.
-- วางไว้ต้นประโยค เมื่อต้องการเน้น เช่น Tomorrow I will fly to Italy.
การเรียงลำดับ adverb หลายคำในประโยคเดียวกัน
1. คำกริยาทั่วไป ให้เรียงลำดับดังนี้ เช่น He worked carefully in the office every day last year.
(M) (P) (F) (T)
2. กริยาที่แสดงความเคลื่อนไหว เช่น My sun sometimes went go to school by bike last month.
(F) (P) (M) (T)
ตำแหน่งในประโยค -- ไว้ท้ายประโยค I will go to London next week.
-- วางไว้ต้นประโยค เมื่อต้องการเน้น เช่น Tomorrow I will fly to Italy.
การเรียงลำดับ adverb หลายคำในประโยคเดียวกัน
1. คำกริยาทั่วไป ให้เรียงลำดับดังนี้ เช่น He worked carefully in the office every day last year.
(M) (P) (F) (T)
2. กริยาที่แสดงความเคลื่อนไหว เช่น My sun sometimes went go to school by bike last month.
(F) (P) (M) (T)
หมายเหตุ
M = Maner
P = Place
F = Frequency
T = Time